ทองแผ่นเดียวกัน
สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการที่ชายและหญิงแต่งงานกัน ทำให้ครอบครัวสองครอบครัวมีความแน่นแฟ้นผูกพันกัน
ที่มาของสํานวน เปรียบเปรยถึงทองคำสองก้อน ที่นำมาหลอมรวมกันแล้ว ก็จะรวมเป็นเนื้อเดียวกัน
สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการที่ชายและหญิงแต่งงานกัน ทำให้ครอบครัวสองครอบครัวมีความแน่นแฟ้นผูกพันกัน
ที่มาของสํานวน เปรียบเปรยถึงทองคำสองก้อน ที่นำมาหลอมรวมกันแล้ว ก็จะรวมเป็นเนื้อเดียวกัน
สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการทำความชั่วนั้นทำได้ง่าย แต่จะส่งผลให้สุดท้ายต้องได้รับกรรม ส่วนการทำความดีนั้นยากกว่า แต่สุดท้ายแล้วก็จะส่งผลให้ชีวิตมีความสุข
ที่มาของสํานวน –
สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการกระทำใดให้ทำประโยชน์ให้คุ้มค่า โดยหากขยันเพิ่มอีกนิดก็จะได้ประโยชน์เต็มเม็ดเต็มหน่วย
ที่มาของสํานวน เปรียบเปรยถึงการทำนานั้นเมื่อหมดฤดูทำนาแล้ว ก็ให้ทำไร่ ก็จะทำให้ได้ใช้ประโยชน์ในที่ดินให้คุ้มค่า ส่วนการเลี้ยงไก่นั้นก็ทำนองเดียวกันคือเมื่อเลี้ยงไก่แล้ว ก็ควรจะทำรังให้ไก่ออกไข่ด้วย เพื่อความมีประสิทธิภาพที่ดี ดีกว่าปล่อยให้ไก่ออกไข่ไปทั่ว
สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึง ผู้ที่มีพรรคพวกจำนวนมากอยู่ในพื้นที่นั้นๆ คอยรายงานข่าวเหตุการณ์ต่างๆ หรือสังเกตการณ์ กับผู้ที่ต้องการจะติดตามนั้นๆ
ที่มาของสํานวน เปรียบเปรยถึงผลสับปะรด ที่มีตาอยู่รอบผลเป็นจำนวนมาก
ตั้งรกราก สํานวนสุภาษิตนี้ หมายความว่า ตั้งบ้านเรือนอยู่ ตั้งหลักแหล่ง เช่น เขาไปเรียนที่ต่างประเทศ แล้วก็แต่งงานตั้งรกรากอยู่ที่เมืองนอกเลย สำนวนตั้งรกราก มาจากคำว่า รก ซึ่งเป็นอวัยวะที่หล่อเลี้ยงเด็กขณะที่อยู่ในครรภ์มารดา เมื่อสมัยโบราณเมื่อเด็กคลอด พ่อแม่จะนำรกของเด็กใส่หม้อแล้วนำไปฝังในบริเวณพื้นที่บ้าน และปลูกมะร้าวสองต้นไว้ข้างๆ ซึ่งต้นมะพร้าวเปรียบเสมือนเครื่องหมายให้ทราบตำแหน่งที่ฝังรก โดยที่ฝังรกมักเป็นบริเวณที่พ่อแม่กำหนดให้เป็นที่ปลูกเรือนหอในอนาคตของลูกต่อไปด้วย